สัญลักษณ์ อุปกรณ์ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ Symbol Electronic

สัญลักษณ์ ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ นั้นไม่ได้มีความเข้าใจยากอะไรนะครับ เพราะที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นแบบเดิมๆ ซึ่งคงไม่ยากเกินความสามารถของเพื่อนๆ เอาหละไปลองดูกันครับ

ภาพที่ 1 อันนี้คือผมนั่งนึกและวาดขึ้นมา อาจมั่วๆหน่อยนะครับ😣

[กดที่ภาพได้นะครับจะขยายชัดขึ้น]

ภาพที่ 2 ข้างล่างนี้จัดระเบียบให้แลดูง่ายขึ้นครับ


แหล่งจ่าย

สัญลักษณ์แหล่งจ่ายคำอธิบาย
Single Cell, เซลล์แบตเตอรี่ DC เซลล์เดียว
DC Battery Supply, แหล่งจ่ายแบตเตอรี่ DC หลายเซลล์
DC Voltage Source, แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงคง ที่มีค่าคงที่
DC Current Source, การจ่ายกระแสไฟฟ้ากระแสตรง ซึ่งมีค่าคงที่
Controlled Voltage Source, แหล่งจ่ายแรงดันที่ควบคุมโดยแรงดันหรือกระแสภายนอก
Controlled Current Source, แหล่งกระแสไฟฟ้าที่ควบคุมโดยแรงดันหรือกระแสภายนอก
AC Voltage Source, แหล่งกำเนิดแรงดันไฟสลับหรือเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

กราวด์

สัญลักษณ์ตัวเก็บประจุคำอธิบาย
Earth Ground, กราวด์อ้างอิงจุดศักย์เป็นศูนย์
Chassis Ground, กราวด์ของแชสซีที่เชื่อมต่อกับพินสายดินของแหล่งจ่ายไฟ
Digital Ground, สายกราวด์ของวงจรลอจิกดิจิทัล

ตัวต้านทาน

สัญลักษณ์ตัวต้านทานคำอธิบาย
Fixed Resistor (IEEE), ตัวต้านทานค่าคงที่ที่ ปกติจะมีเลขความต้านทานใส่อยู่ด้านข้าง
Fixed Resistor (IEC), ตัวต้านทานค่าคงที่ที่ ปกติจะมีเลขความต้านทานใส่อยู่ด้านข้าง
Potentiometer (IEEE), ความต้านทานตัวปรับค่าได้ซึ่งค่าความต้านทานสามารถปรับได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงค่าสูงสุดตามที่ระบุที่ตัวไว้
Potentiometer (IEC), ความต้านทานตัวปรับค่าได้ซึ่งค่าความต้านทานสามารถปรับได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงค่าสูงสุดตามที่ระบุที่ตัวไว้
Rheostat (IEEE), ตัวต้านทานปรับค่าได้อีกชนิดหนึ่ง สามารถปรับตั้งแต่ศูนย์ถึงสูงสุดตามที่ระบุที่ตัวไว้
Rheostat (IEC), ตัวต้านทานปรับค่าได้อีกชนิดหนึ่ง สามารถปรับตั้งแต่ศูนย์ถึงสูงสุดตามที่ระบุที่ตัวไว้
Trimmer Resistor, ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ขนาดเล็กสำหรับติดตั้งบน PCB
Thermistor (IEEE), ตัวต้านทานความร้อนที่มีค่าความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโดยรอบ
Thermistor (IEC), ตัวต้านทานความร้อนที่มีค่าความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโดยรอบ

ตัวเก็บประจุ

สัญลักษณ์ตัวเก็บประจุคำอธิบาย
Fixed Value Capacitor, ตัวเก็บประจุไฟฟ้าแบบไม่มีขั้ว ปกติในแผนผังวงจรจะต้องมีค่าความจุระบุอยู่ด้วย
Fixed Value Capacitor, ตัวเก็บประจุไฟฟ้าแบบไม่มีขั้ว ปกติในแผนผังวงจรจะต้องมีค่าความจุระบุอยู่ด้วย
Polarized Capacitor, ตัวเก็บประจุแบบมีขั้ว โพลาไรซ์ค่าคงที่มักจะเป็นตัวเก็บประจุไฟฟ้าซึ่งต้องเชื่อมต่อกับแหล่งจ่าย
Variable Capacitor, ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้ซึ่งค่าความจุสามารถเปลี่ยนแปลงได้

ตัวเหนี่ยวนำ

สัญลักษณ์ตัวเหนี่ยวนำคำอธิบาย
Open Inductor, ตัวเหนี่ยวนำแบบแกนอากาศ ขดลวด หรือโซลินอยด์ที่สร้างสนามแม่เหล็กรอบๆ ตัวมันเอง
Iron Core Inductor, ตัวเหนี่ยวนำแกนเหล็ก
Ferrite Core Inductor, ตัวเหนี่ยวนำที่เกิดจากการพันขดลวดรอบแกนเฟอร์ไรต์

สวิตซ์

สัญลักษณ์สวิตซ์และคอนแทคคำอธิบาย
SPST Toggle Switch, สวิตช์เปิด/ปิดแบบทางเดียว
SPDT Changeover Switch, สวิตช์เปิด/ปิดแบบสองทาง
Pushbutton Switch (N.O), สวิตซ์กดติด ปล่อยดับ
Pushbutton Switch (N.C), สวิตซ์กดดับ ปล่อยติด
SPST Relay Contacts, รีเลย์ 1หน้าสัมผัส
SPDT Relay Contacts, รีเลย์ 2หน้าสัมผัส
DPST Relay Contacts, รีเลย์ 1หน้าสัมผัส 2คอนแทค
DPDT Relay Contacts, รีเลย์ 2หน้าสัมผัส 2คอนแทค
DIP Switch Assembly, ดิฟสวิตซ์ แบบ 4สวิตซ์

ไดโอด

สัญลักษณ์ไดโอดคำอธิบาย
Diode, ไดโอด
Zener Diode, ซีเนอร์ไดโอด
Schottky Diode, ชอตกี้ไดโอด

ทรานซิสเตอร์

สัญลักษณ์ทรานซิสเตอร์คำอธิบาย
NPN Bipolar Transistor, ทรานซิสเตอร์ ชนิด NPN
PNP Bipolar Transistor, ทรานซิสเตอร์ ชนิด PNP
Darlington Pair Transistor, ดาลิงตัน ทรานซิสเตอร์
N-JFET Transistor, เจเฟต ชนิด N
P-JFET Transistor, เจเฟต ชนิด P
N-MOSFET Transistor, มอสเฟต ชนิด N
P-MOSFET Transistor, มอสเฟต ชนิด P


แสดงความคิดเห็น

0 ความคิดเห็น